บรรณานุกรมพุทธประวัติ

“พระพุทธศาสนา” นับว่าเป็นศาสนาหนึ่งที่เกิดขึ้นจากการตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณของเจ้าชายสิทธัตถะ ผู้ทรงปรารถนาให้มวลมนุษย์ก้าวข้ามสังสารวัฏ หรือการเกิด แก่ เจ็บ และตาย แล้วมุ่งเข้าสู่พระนิพพาน แต่อย่างไรก็ตาม ก่อนที่เจ้าชายสิทธัตถะจะทรงตรัสรู้สัจธรรมอันประเสริฐได้ พระองค์ทรงฝ่าฟันกับอุปสรรคนานาประการ และทรงค้นพบวิธีการดำเนินชีวิตและการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างแยบคาย อันเป็นที่มาของหลักธรรมคำสอนต่าง ๆ ในพระพุทธศาสนา
  

//

กรมการศาสนา. (๒๕๒๕). พระไตรปิฎกฉบับหลวง เล่มที่ ๑-๔๕ . กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา.

เจือ สตะเวทิน. (๒๕๒๗). วรรณคดีพุทธศาสนา เล่ม ๑ . (พิมพ์ครั้งที่ ๒). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา.

เทพเวที, พระ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (๒๕๓๕). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ . (พิมพ์ครั้งที่ ๗). กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.

ธรรมปิฎก, พระ (ป.อ.ปยุตฺโต). (๒๕๔๓). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม . (พิมพ์ครั้งที่ ๙). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.

พุทธทาสภิกขุ. (๒๕๔๕๗. พุทธประวัติจากพระโอษฐ์ . (พิมพ์ครั้งที่ ๕). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เม็ดทรายพริ้นติ้ง.

พุทธศิลป์ โดยเฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์. (2001). Buddhistic Painting [Online]. สาระสังเขปจาก: http://www.chalermchai.com/ [๑๐ กรกฎาคม ๒๕๔๖].

มหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์. (๒๕๓๗). พระสูตร และอรรถกถา, แปล . (พิมพ์ครั้งที่ ๓). กรุงเทพฯ. (มหามกุฏราชวิทยาลัยในพระบรม-ราชูปถัมภ์ พิมพ์เนื่องในโอกาสครบ ๒๐๐ ปี แห่งพระราชวงศ์จักรี กรุงรัตนโกสินทร์ พุทธศักราช ๒๕๒๕).

ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๓๙). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน . (พิมพ์ครั้งที่ ๖). กรุงเทพฯ: บริษัท อักษรเจริญทัศน์ จำกัด.

โรงเรียนการศาสนาและศีลธรรมทหารบก. (๒๕๒๑). วิชาการศาสนาและศีลธรรม . (พิมพ์ครั้งที่ ๑๓). กรุงเทพฯ.

เลขาธิการนายกรัฐมนตรี, สำนัก. สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์แห่งชาติ. (๒๕๓๙). คำถาม-คำตอบเกี่ยวกับพุทธศาสนา เล่ม ๑-๒ . กรุงเทพฯ.

วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร. (No Date). วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา [Online]. สาระสังเขปจาก: http://www.wattrimit.com/dhumma/onesumkun1.htm [๑๐ กรกฎาคม ๒๕๔๖].

หอมรดกไทย. (No Date). The Buddha [Online]. สาระสังเขปจาก: http://www.heritage.thaigov.net/religion/bio/ [๑๐ กรกฎาคม ๒๕๔๖].

สุชีพ ปุญญานุภาพ. (๒๕๓๙). พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน . (พิมพ์ครั้งที่ ๑๖). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์.  

THAI CADET

 

© 2547-2567. จัดทำเป็นวิทยาทาน โดย THAI CADET

Made with Pingendo Free  Pingendo logo