ว่าด้วย ... พระพุทธศาสนา

สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ 
การให้ธรรมะเป็นทาน ย่อมชนะการให้ทั้งปวง 

พุทธศาสนสุภาษิต 

พระพุทธประวัติ

การศึกษา “พุทธประวัติ” จะทำให้ผู้อ่านได้ทราบถึงเรื่องราวขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตั้งแต่อดีตชาติ จนถึงการเสด็จดับขันธปรินิพพาน และหลักในการดำเนินชีวิตที่น่าสนใจ ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข

คำนำ

วีถีการดำเนินชีวิตของพระศาสดาในแต่ละช่วงชีวิต จะเป็นตัวบ่มเพาะความคิดและปัญญาของพระศาสดา ที่นำไปสู่การแสวงหาสัจธรรมของชีวิต แล้วนำสัจธรรมที่ค้นพบเหล่านั้นมาเผยแผ่สู่มนุษยชาติ

อ่านต่อ

ภูมิหลังของชมพูทวีป 

ในสมัยโบราณ ประเทศอินเดีย ถูกเรียกว่า “ชมพูทวีป” โดยพลเมืองที่อาศัยอยู่ในชมพูทวีป มีอยู่ 2 พวกด้วยกัน คือ พวกมิลักขะ และพวกอริยกะ

อ่านต่อ

ต้นกำเนิดราชวงศ์ของพระพุทธเจ้า 

ตามตำนานเล่าว่าพระเจ้าโอกกากราช ครองราชสมบัติในพระนครแห่งหนึ่ง ทรงมีพระราชบุตร 4 พระองค์ พระราชบุตรี 5 พระองค์ โดยทั้ง 9 พระองค์นี้ล้วนประสูติจากพระมเหสีที่เป็นราชภคินีของพระองค์เอง

อ่านต่อ

ความเข้าใจเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า 

หากเราได้ศึกษาคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาแล้วจะพบว่า ก่อนหน้านี้มีพระพุทธเจ้าถึง 27 องค์ ที่ทรงอุบัติขึ้นมาเพื่อโปรดสัตว์โลก และพระสมณะโคดมเป็นพระพุทธเจ้าองค์ที่ 28

อ่านต่อ

อดีตชาติของพระพุทธเจ้า

ย้อนกลับไปในอดีตชาติของพระสมณะโคตมะ (เจ้าชายสิทธัตถะ) ก่อนที่จะมาอุบัติเป็นพระพุทธเจ้านั้น ได้ทรงบำเพ็ญบารมีอยู่ในอดีตชาติ เรียกว่า “พระโพธิสัตว์” (แปลว่า ท่านผู้ที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า)

อ่านต่อ

ประสูติ

เมื่อประสูติแล้ว ทรงดำเนินด้วยพระบาท 7 ก้าว พร้อมกับเปล่งพระวาจาว่า “เราเป็นยอดของโลก เราเป็นใหญ่แห่งโลก เราเป็นผู้ประเสริฐแห่งโลก ความเกิดของเรานี้เป็นครั้งที่สุด บัดนี้ความเกิดอีกมิได้มี”

อ่านต่อ

ออกบวช

ทรงอธิฐานเพศเป็นนักบวชที่ชายหาดริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ซึ่งการออกบวชครั้งนี้เรียกว่า “การเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์” แปลว่า “การเสด็จออกเพื่อคุณอันยิ่งใหญ่”

อ่านต่อ

ตรัสรู้

การได้บรรลุญาณทั้งสามของพระมหาบุรุษนั้นเรียกว่า “ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณ” (หรือตรัสรู้ความเป็นพระพุทธเจ้า) ทรงรู้ธรรมพิเศษสมดังพระประสงค์ หลังจากที่ทรงบรรพชามา 6 ปี

อ่านต่อ

ประกาศพระศาสนา 

เมื่อพระพุทธองค์ตรัสพระธรรมเทศนาอยู่ท่านโกญทัญญะก็ได้ธรรมจักษุ หรือดวงตาเห็นธรรมว่า “ยังกิญจิ สมุทยธัมมัง สัพพัญตัง นิโรธธัมมัง” แปลว่า “สิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นย่อมดับไปเป็นธรรมดา”

อ่านต่อ

ปรินิพพาน 

“ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ เราขอเตือนพวกเธอว่าสังขารทั้งหลายมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา พวกเธอจงยังความไม่ประมาทให้ถึงพร้อมเถิด” ซึ่งปัจฉิมโอวาทนี้เป็นการสรุปพระโอวาททั้งปวงที่ประทานมาตลอด 45 พรรษา

อ่านต่อ

บรรณานุกรม 

บรรณานุกรมพุทธประวัติ

อ่านต่อ

#

#

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

ในฐานะพุทธศาสนิกชน ควรทราบถึงความเป็นมาของวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแต่ละวัน อีกทั้งควรทราบถึงแนวทางในการปฏิบัติตนที่ถูกต้องตามธรรมเนียมประเพณีของชาวไทยที่นับถือพระพุทธศาสนา ตลอดจนนำวิธีปฏิบัติและคำสอนทางศาสนาที่สำคัญ ๆ ในวันเหล่านั้น มาใช้ในชีวิตประจำได้อย่างมีความสุข  

คำนำ

“วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา” เป็นวันที่กำหนดขึ้นมาภายหลังจากที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงดับขันธ์ปรินิพพาน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้น้อมรำลึกถึงคุณของพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์

อ่านต่อ

วันวิสาขบูชา

วันวิสาขบูชาเป็นวันที่พุทธศาสนิกชนทั้งหลายถือเอาความอัศจรรย์ ๓ ประการ ที่เกิดขึ้นกับพระพุทธเจ้า โดยเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นต่างปี แต่พ้องวันกัน คือ วันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖

อ่านต่อ

วันมาฆบูชา

การมาชุมชุมของพระอรหันต์สาวกในครั้งนั้น พระพุทธเจ้าทรงเห็นเป็นนิมิตอันดี จึงได้เสด็จท่ามกลางพระสงฆ์ ๑,๒๕๐ รูปเหล่านั้น และได้ทรงแสดง “โอวาทปาติโมกข์”

อ่านต่อ

วันอาสาฬหบูชา

เป็นวันคล้ายวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา หรือเทศน์กัณฑ์แรก ที่มีชื่อว่า “ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร” โดยเป็นการแสดงพระธรรมเทศาสนาครั้งแรก เพื่อโปรดปัญจวัคคีย์ทั้ง 5

อ่านต่อ

วันเข้าพรรษา

การเข้าพรรษา คือ การที่พระภิกษุตั้งใจว่าจะอยู่ประจำ ณ วัดใดวันหนึ่ง ตลอดเวลา ๓ เดือนในฤดูฝน โดยไม่ไปค้างคืนที่แห่งอื่นในระหว่างนั้น ซึ่งพิธีเข้าพรรษานี้ถือเป็นศาสนพิธีสำหรับพระภิกษุโดยตรง

อ่านต่อ

วันออกพรรษา

วันออกพรรษามีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “วันปวารณา หรือ วันมหาปวารณา” โดยในวันนี้พระภิกษุสงฆ์จะทำพิธีปวารณา หรือ “ปวารณากรรม”

อ่านต่อ

วันอัฏฐมีบูชา

วันอัฏฐมีบูชา เป็นวันที่ถือกันว่าตรงกับวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ (เผาศพพระพุทธเจ้า) วันนี้จึงเรียกว่า “วันอัฏฐมีบูชา”

อ่านต่อ

บรรณานุกรม

บรรณานุกรมวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

อ่านต่อ

บทความ "พระพุทธศาสนา"

พุทธประวัติสังเขป

พระพุทธเจ้านั้น เป็นพระโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะ และพระนางมหามายามีประวัติความเป็นมาปรากฏตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างชัดแจ้ง พระประวัติของพระพุทธองค์นั้นพึงทราบโดยสังเขปดังต่อไปนี้

อ่านต่อ

พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร 

อริยสัจ ไตรลักษณ์ และนิพพาน “เป็นสัจธรรม” ที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสรู้ และได้ทรงแสดงสั่งสอน เรียกได้ว่าเป็น “ธรรมสัจจะ” สัจจะทางธรรมเป็นวิสัยที่พึงรู้ได้ด้วยปัญญา อันเป็นทางพ้นทุกข์ในพระพุทธศาสนา

อ่านต่อ

หัวใจพระพุทธศาสนา

ขันติ คือ ความทนทานเป็นตบะอย่างยิ่ง พระพุทธเจ้าทั้งหลายตรัสว่า พระนิพพานเป็นธรรมอย่างยิ่ง ผู้ทำร้ายผู้อื่น ผู้เบียดเบียนผู้อื่น ไม่ชื่อว่าเป็นบรรพชิต ไม่ชื่อว่าเป็นสมณะเลย การไม่ทำบาปทั้งสิ้น การยังกุศลให้ถึงพร้อม การทำจิตของตนให้ผ่องใสนี้เป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย

อ่านต่อ

ความหมาย คุณลักษณะ และประเภทของพระโพธิสัตว์

ในพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทนั้นพระโพธิสัตว์ คือ บุคคลผู้บำเพ็ญบารมีธรรมอุทิศตนช่วยเหลือสัตว์ผู้มีความทุกข์ยาก และจะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต พุทธศาสนาฝ่ายมหายานเรียกบุคคลเช่นนี้ว่าเป็นผู้มีพลังหรืออำนาจมุ่งสู่โพธิญาณ

อ่านต่อ

ประวัติศากยะวงศ์ในประเทศเนปาล

ตระกูลศากยะวงค์จึงเป็นตระกุลที่มีบทบาทมาก ในการสร้างศิลปะวัฒนธรรมของประเทศเนปาล และทางพระพุทธศาสนาด้วย ตั้งแต่สมัยพุทธกาลมาจนถึงปัจจุบัน

อ่านต่อ

ความรู้เกี่ยวกับพระไตรปิฎก

ไตรปิฎก “ปิฎกสาม” ; ปิฎก แปลตามศัพท์อย่างพื้น ๆ ว่า กระจาดหรือตะกร้า อันเป็นภาชนะสำหรับใส่รวมของต่าง ๆ เข้าไว้ นำมาใช้ในความหมายว่า เป็นที่รวบรวมคำสอนในพระพุทธศาสนาที่จัดเป็นหมวดหมู่แล้ว

อ่านต่อ

พระไตรปิฎกกับการธำรงพระพุทธศาสนา

ถ้าตอบอย่างสั้นที่สุด ก็พูดได้ว่า พระไตรปิฎกกับการธำรงพระพุทธศาสนาเป็นเรื่องเดียวกัน การธำรงพระไตรปิฎก ก็คือการธำรงพระพุทธศาสนา นี้เป็นความหมายอย่างง่ายที่สุด

อ่านต่อ

มิลินทปัญหา

ข้าพเจ้าจะติดตามยึดถือ ศึกษาศาสนาขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ได้ทรงตรัสสั่งสอนไว้แล้วให้ถึงที่สุด ข้าพเจ้าจะพยายามปฏิบัติตามคำสอนเหล่านั้นให้อย่างยิ่ง แม้จะถึงซึ่งชีวิตก็ไม่เสียดาย

อ่านต่อ

คำถาม-คำตอบเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา

พระพุทธศาสนา คืออะไร l จุดมุ่งหมายแห่งการสั่งสอนของพระพุทธเจ้า คืออะไร l ชาวพุทธควรเชื่ออย่างไร และเชื่ออะไร l เราจะใช้ชีวิตอย่างมีความสุขโดยไม่มีศาสนาได้หรือไม่

อ่านต่อ

ธรรมชาติของชีวิต

ตามหลักพุทธธรรมถือว่าความเป็นไปของสรรพสิ่งนั้น ไม่มีสิ่งใดอยู่นอกเหนือกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ อีกทั้งไม่มีตัวการอื่นใดที่อยู่นอกเหนือออกไปอีก ไม่ว่าจะอยู่ในฐานะเป็นผู้สร้างหรือผู้บันดาล

อ่านต่อ

ธรรมเพื่อเสริมความเป็นคน

พระพุทธเจ้าทรงแสดงหลักธรรมสำหรับการดำเนินชีวิตไว้มากมายหลาย ตามระดับความสามารถของผู้ปฏิบัติ อย่างไรก็ตามหลักปฏิบัติที่ต่างกันนั้นล้วนมุ่งไปสู่เป้าหมายเดียวกัน คือ

อ่านต่อ

ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับศาสนา

เมื่อกล่าวถึงวัฒนธรรมไทยสิ่งหนึ่งที่จะต้องกล่าว ควบคู่กันไปนั่นคือ “พระพุทธศาสนา” ทั้งนี้เพราะคำสอนทางพระพุทธ ศาสนามีส่วนในการสร้างระบบจริยธรรมให้สังคมไทย

อ่านต่อ

พิธีกรรมกับจริยธรรมในสังคม

ไม่ว่าจะเป็นพิธีกรรมประเภทใด ๆ ก็ตามล้วนแต่มีสารัตถะอยู่ที่การเสริมสร้างความดีงาม และความบริสุทธิ์แห่งความคิดของผู้ร่วมพิธีกรรม

อ่านต่อ

สถานภาพอันคาบเกี่ยวของแม่ชีกับสิทธิสตรีที่สังคมปิดตาย

“แม่ชี” ภาพลักษณ์ของผู้เผยแผ่ศาสนา ซึ่งฉันเข้าใจเสมอมา ว่าเราสามารถนิยามถึงสถานภาพของแม่ชีได้ว่า “นักบวช” นั้น แต่เหตุใด จึงไม่ได้รับความสะดวกจากสังคมตามสมควร เหมือนอย่างพระภิกษุและสามเณร

อ่านต่อ

พุทธจริยธรรม

“ธมฺมสฺส จริยา ธมมา วา อนเปตา จริยา ธมฺมจริยา” แปลว่า “ความประพฤติที่เหมาะสม หรือความประพฤติที่ไม่ปราศจากธรรม เรียกว่า ธรรมจริยา”

อ่านต่อ

พุทธจริยธรรมกับการดนตรี

ถึงแม้จะมีบทเพลงปรากฏอยู่มาก แต่ถ้าบทเพลงนั้นเป็นสิ่งที่เจือปนด้วยกิเลสตัณหา ขัดขวางต่อการบรรลุคุณธรรม หรือเป็นข้าศึกต่อกุศลก็ไม่อนุญาต

อ่านต่อ

ปาณาติบาตกับสงคราม

ในการทำสงคราม หรือแม้แต่การทำสงครามที่เป็นธรรม มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับสิกขาบทข้อที่หนึ่ง เนื่องจากการทำสงครามเกี่ยวข้องกับการทำลายชีวิตมนุษย์

อ่านต่อ

เกณฑ์ตัดสินความดีความชั่ว

เกณฑ์วินิจฉัยกรรมดีและกรรมชั่วว่า ในแง่ของกรรมให้ถือเอาเจตนาเป็นหลักตัดสินว่าเป็นกรรมหรือไม่ และในแง่ที่ว่ากรรมนั้นดีหรือชั่ว ให้พิจารณาตามเกณฑ์หลัก คือ การตัดสินด้วยความเป็นกุศลหรือเป็นอกุศล โดย

อ่านต่อ

พุทธจริยศาสตร์กับแนวคิดเรื่องสงครามที่เป็นธรรม: กรณีศึกษาทรรศนะของนักวิชาการในบริบทสังคมไทยร่วมสมัย

พระพุทธศาสนาจะถือว่าสงครามหนึ่งเป็นสงครามที่เป็นธรรมก็ต่อเมื่อ ผู้กระทำมีเจตนาที่ไม่เบียดเบียนมุ่งร้าย ห่างไกลจากอกุศลมูลทั้งปวง และประกอบด้วยสติปัญญา

อ่านต่อ

ทรรศนะนักวิชาการไทยเกี่ยวกับสงครามที่เป็นธรรม

สงครามที่เป็นธรรมจัดเป็นความขัดแย้งทางจริยธรรมระหว่างหน้าที่ในอันที่จะไม่ฆ่า หรือเบียดเบียนผู้อื่น และหน้าที่ในการป้องกันประเทศ หรือรักษาสันติภาพ

อ่านต่อ

BUDDHIST ETHICS: JUST WAR?

It seems that there is a contradiction between the teachings of Buddhism, and the use of the teachings to justify the start of war.

อ่านต่อ

THAI SCHOLARS’ VIEWS ABOUT JUST WAR,

The just war concept is an ethical conflict between the duty not to kill nor disturb others and the duty to defend a country or keep peace.

อ่านต่อ

สถานภาพและบทบาทของทะไลลามะ  

การเสด็จลี้ภัยการเมืองของทะไลลามะและชาวทิเบตเป็นจำนวนมากไปอยู่ทางตอนเหนือของอินเดีย ทำให้พุทธศาสนาฝ่ายทิเบตเป็นที่รู้จักของชาวโลกอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน และกลายเป็นคู่แข่งขันที่สำคัญของพุทธศาสนานิกายเซนในโลกตะวันตก

อ่านต่อ

ภูฏาน : วัชรยานใต้ฟ้าป่าหิมพานต์

พุทธศาสนาฝ่ายวัชรยานนั้นรุ่งเรืองอยู่ในภูฏาน ทิเบต และมองโกเลีย ทุกวันนี้ภูฏานได้กลายเป็นปราการหรือที่มั่นสุดท้ายของพุทธศาสนานิกายที่วิจิตรพิสดารและเร้นลับนี้ในโลกปัจจุบัน

อ่านต่อ

ความสุขมวลรวมประชาชาติ (GNH) 

แม้อาณาจักรโรมันจะเป็นผู้ประหารชีวิตพระเยซู แต่พระจักรพรรดิแห่งกรุงโรมองค์ต่อๆ มาก็ได้หันมายอมรับนับถือศาสนาคริสต์ ทำให้ศาสนาคริสต์แผ่กระจายไปทั่วทั้งยุโรปและตะวันออกกลาง

อ่านต่อ

อินเดีย-ศรีลังกา : รากฐานพุทธศาสนาของไทย 

ตลอดประวัติศาสตร์กว่า ๒,๕๐๐ ปีที่ผ่านมา ชาวศรีลังกาได้ต่อสู้เพื่อปกป้องพุทธศาสนาให้ยืนยงเคียงคู่แผ่นดินลังกามาอย่างยาวนานและยากลำบาก

อ่านต่อ

พุทธศาสนาเถรวาทในลาว 

พุทธศาสนาในระบอบสังคมนิยมลาวได้รับการตีความใหม่ โดยผสมผสานแนวคิดเกี่ยวกับการต่อสู้เพื่อเอกราชอธิปไตย และหลักการของสังคมนิยมเข้าไว้ด้วย

อ่านต่อ

พุทธศาสนาในกัมพูชา  

พุทธศาสนาสอนเราให้อยู่ร่วมกันอย่างเป็นประชาธิปไตยและเป็นเอกภาพ โดยคิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน พุทธศาสนาสอนเราให้รู้จักช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น อันสอดคล้องกับสังคมมนุษย์ที่ต้องการสันติภาพและสันติสุข

อ่านต่อ

พุทธศาสนาในพม่า 

ตลอดระยะเวลาเกือบ ๖๐ ปีภายใต้ลัทธิอาณานิคม นโยบายการไม่ยุ่งเกี่ยวกับศาสนาของอังกฤษทำให้เกิดช่องว่างในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับศาสนาขึ้น การอุปถัมภ์ค้ำจุนของรัฐที่มีต่อพุทธศาสนาได้หยุดชะงักไป

อ่านต่อ

อาณาจักรศรีวิชัยและมหาสถูปโบโรบูโดร์ 

ในสมัยอาณาจักรศรีวิชัยพุทธศาสนามีอิทธิพลเหนือหมู่เกาะอินโดนีเซียและแหลมมลายูไม่ต่ำกว่า 600 ปี พุทธศาสนาในสมัยศรีวิชัยเป็นพุทธศาสนาฝ่ายมหายานที่ผสมผสานกับวัฒนธรรมท้องถิ่น มีการสร้างพุทธสถานที่ใหญ่โตวิจิตรงดงาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งมหาสถูปโบโรบูโดร์ รวมทั้งพระพุทธรูปเป็นอันมาก

อ่านต่อ

ศาสนากับสังคมการเมืองในเวียดนาม 

เวียดนามได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนามหายาน ซึ่งกลายเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เวียดนามแตกต่างไปจากเพื่อนบ้านในเอเชียอาคเนย์

อ่านต่อ

พุทธศาสนาในสิงคโปร์  

คณะสงฆ์ในสิงคโปร์มีความโดดเด่นน้อยกว่าคณะสงฆ์อื่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การปฏิบัติของชาวพุทธสิงคโปร์โดยทั่วไปคือ การกราบไหว้พระพุทธรูป การเสี่ยงเซียมซี และบางครั้งก็นั่งสวดมนต์อย่างเงียบๆ ในสิงคโปร์เราจะพบเห็นพระสงฆ์ได้ก็แต่ในวัดใหญ่ที่เพิ่งบูรณะใหม่เท่านั้น เช่น วัดซวนหลิน วัดหลงซัน และวัดโปร์คาร์กซี เป็นต้น

อ่านต่อ

ศาสนาในบรูไนและติมอร์ตะวันออก  

นับตั้งแต่ทศวรรษที่ 1990 เป็นต้นมา มีความพยายามที่จะสร้างชาติและวัฒนธรรมภายใต้คำขวัญที่ว่า "มาเลย์-อิสลาม-กษัตริย์" แต่ปัญหามีอยู่ว่าชนชั้นกลางซึ่งนับวันจะมีจำนวนเพิ่มขึ้นนั้นจะยอมรับการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ต่อไปอีกสักเท่าใด ในเมื่อสถานะทางการศึกษาและการเงินของชนชั้นกลางเหล่านี้มีสูงขึ้นตามลำดับอย่างต่อเนื่อง

อ่านต่อ

ทะไลลามะกับปัญหาทิเบต

การเสด็จลี้ภัยการเมืองของทะไลลามะและชาวทิเบตเป็นจำนวนมากไปอยู่ทางตอนเหนือของอินเดีย ทำให้พุทธศาสนาฝ่ายวัชรยานแบบทิเบตเป็นที่รู้จักของชาวโลกอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน และกลายเป็นคู่แข่งขันที่สำคัญของพุทธศาสนานิกายเซนในโลกตะวันตก

อ่านต่อ

พุทธศาสนากับสังคมการเมืองในศรีลังกา  

มีความพยายามหลายครั้งที่จะทำลายพุทธศาสนาและเปลี่ยนคนพื้นเมืองให้ไปนับถือศาสนาคริสต์ เหตุการณ์เหล่านี้ รวมทั้งความรู้สึกภูมิใจและหวงแหนในมรดกวัฒนธรรมของตน เป็นแรงผลักดันให้ชาวศรีลังกาส่วนใหญ่รู้สึกถึงความจำเป็นที่จะต้องปกป้องศาสนาของตนอย่างกระตือรือร้น

อ่านต่อ

“เขาพระวิหาร” กับพุทธศาสนาในกัมพูชา 

ตามประเพณีเดิมนั้นโบราณสถานทางศาสนาใช้เป็นที่ประกอบพิธีบูชาของประชาชนทั้งสองฝ่าย แต่เมื่อพิจารณาจากเอกสารทางประวัติศาสตร์ที่ฝรั่งเศสทำขึ้น ศาลโลกจึงตัดสินให้เขาพระวิหารเป็นของกัมพูชาในปี พ.ศ.2505

อ่านต่อ

พุทธศาสนากับสังคมการเมืองในอุษาคเนย์ 

พุทธศาสนาได้ให้อุดมการณ์ทางความคิดและพื้นฐานทางวัฒนธรรมแก่ชาวอุษาคเนย์ ในการเผชิญหน้ากับลัทธิอาณานิคมจากตะวันตก การยึดครองของญี่ปุ่นในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง และลัทธิเผด็จการทหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพม่า

อ่านต่อ

พุทธศาสนามหายานในอุษาคเนย์  

เวียดนามรับพุทธศาสนามหายานจากจีนและปรับให้เป็นพุทธศาสนาแบบเวียดนาม ส่วนชาวจีนในสิงคโปร์ได้นำพุทธศาสนามหายานติดตัวมาและปรับเปลี่ยนให้เป็นพุทธศาสนาแบบสมาคม อันเป็นรูปแบบของพุทธศาสนาสมัยใหม่ แต่ทั้งหมดนี้ได้สะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพลของอารยธรรมจีนในอุษาคเนย์

อ่านต่อ

ทะไลลามะกับอนาคตของทิเบต 

เวลา 16 ปีนั้นนานเกินไปสำหรับการสานต่ออุดมการณ์การเรียกร้องสิทธิการปกครองตนเองจากจีน และก็ไม่มีหลักประกันใดๆ ว่าเด็กคนนั้นจะไม่ถูกปลูกฝังอุดมการณ์เป็นอย่าง อื่นในแผ่นดินทิเบตภายใต้การปกครองของจีน ทะไลลามะองค์ปัจจุบันจึงทรงพอพระทัยมากกว่า ที่จะแต่งตั้งทายาททางการเมืองด้วยพระองค์เองขณะที่พระองค์ยังทรงพระชนม์อยู่

อ่านต่อ

อัมเบดการ์ พุทธศาสนากับสิทธิมนุษยชน  

ดร.อัมเบดการ์เป็นนักต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชน (โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิทธิของคนวรรณะต่ำและคนนอกวรรณะในอินเดีย) นักต่อสู้เพื่อเอกราชของอินเดีย และบุคคลแรกในประวัติศาสตร์สมัยใหม่ที่นำพุทธศาสนากลับคืนสู่ประเทศอินเดีย

อ่านต่อ

การจัดงานฉลองพระชนมายุ 8 รอบ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก 29 มิถุนายน 2566

กำหนดชื่อการจัดงานเป็นภาษาไทยว่า “การจัดงานฉลองพระชนมายุ ๘ รอบ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๖” และชื่อการจัดงานเป็นภาษาอังกฤษว่า “Celebrations on the Occasion of His Holiness Somdet Phra Ariyavongsagatayana the Supreme Patriarch of Thailand ’s 96th Birthday Anniversary 26th June 2023”

อ่านต่อ

นรก-สวรรค์ สิ่งซ่อนเร้น จิตไร้สำนึก

จิตไร้สำนึกเป็นเรื่องของคุณค่าที่ถูกสั่งสมกันมาในวัฒนธรรมหนึ่ง นรกสวรรค์ของคนชนชาติหนึ่ง จึงเจือปนอยู่ด้วยวัฒนธรรมของชนชาตินั้น “นรก-สวรรค์” ในลักษณะเช่นนี้จึงมิใช่ข้อเท็จจริง

อ่านต่อ

บิ๊กแบง และอนัตตา

จิตใจจึงเป็นปรากฏการณ์ที่เป็นผลผลิตของวิวัฒนาการของจักรวาลนี้ กล่าวคือ เป็นจิตใจที่ใฝ่หาความรู้ความเข้าใจในตัวเอง มีความอิจฉาริษยา ขณะเดียวกันก็มีความเมตตากรุณา และใฝ่หาคุณธรรม และสัจธรรม

อ่านต่อ

พุทธศาสนาไม่ใช่จิตนิยม

พระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธทฤษฎี “จิตอมตะ” ของพวกพราหมณ์ โดยชี้ให้เห็นว่าทฤษฎีดังกล่าวไม่สอดคล้องกับความเป็นจริงในธรรมชาติ และเสนอทฤษฎี “อนัตตา” ขึ้นมาแทน โดยทรงอธิบายว่า

อ่านต่อ

พุทธศาสนากับสสารนิยม

หลัก “ไตรลักษณ์” ของพุทธศาสนาข้อหนึ่ง คือ อนิจจัง (ความไม่เที่ยง) นับเป็นการปฏิเสธทฤษฎี “ฟิสิกส์แบบนิวตั้น” โดยสิ้นเชิง

อ่านต่อ

พุทธศาสนากับธรรมชาตินิยม

ปรัชญา “ธรรมชาตินิยม” ตั้งต้นจากทรรศนะที่ว่า “สิ่งที่เป็นจริงซึ่งเรียกว่า สิ่งธรรมชาติ จะต้องอยู่ภายใต้อวกาศและเวลา เกิดขึ้นและดับลงโดยมีสาเหตุ และสาเหตุนั้นจะต้องเป็นสิ่งธรรมชาติด้วย”

อ่านต่อ

เจ้าชายนิทราปรากฏการณ์ของสมองกับจิต

โครงสร้างทางสมองของมนุษย์ นับเป็นโครงสร้างที่ซับซ้อนที่สุดในจักรวาลนี้ ดังนั้น ความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับโครงสร้างทางสมอง จึงส่งผลโดยตรงต่อปรากฏการณ์ที่เรียกว่า “จิตใจ” อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

อ่านต่อ

พุทธศาสนากับศิลปะแบบตันตระ

พระพุทธรูปดังกล่าวเป็นพระพุทธรูปแบบ “วัชรยาน” (Vajrayana) อันเป็นศิลปะแบบ “ตันตระ” ของทิเบต ซึ่งเป็นที่เคารพบูชาในหมู่ประชาชนชาวทิเบตมานานหลายชั่วอายุคน

อ่านต่อ

ศาสนากับการกำเนิดของระบบทุนนิยม

นักปฏิรูปพุทธศาสนาของไทยได้เน้นคำสอนทางจริยธรรมที่เป็นการส่งเสริมคุณค่า และคุณภาพชีวิต อันเป็นพื้นฐานสำคัญที่จะช่วยให้ประสบความสำเร็จในทางธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับชนชั้นกลาง

อ่านต่อ

พลิกฟื้นประวัติศาสตร์...ที่สาวัตถี

บัดนี้พระพุทธศาสนาได้หยั่งรากลงสู่ประเทศอินเดีย ดินแดนแห่งพุทธภูมิอย่างเป็นรูปธรรมแล้ว รอแต่วันที่จะแตกช่อเติบโตขึ้นเพื่อความสุขของมนุษยชาติ และเพื่อสันติภาพของโลก ...

อ่านต่อ

สามเณรีกับสิทธิทางกฎหมาย

ความตื่นตัวด้านสิทธิสตรีในทางสากล และความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ "ภิกษุณี" ในสังคมไทยที่มีเพิ่มขึ้น ได้จุดประกายให้ผู้หญิงไทยจำนวนหนึ่ง แม้จะน้อยนิด แต่ก็เป็นผู้ที่มีความกล้าหาญในทางจริยธรรม และกล้าหาญต่อหนทางแห่งสัจจะ ได้ตัดสินใจออกบวชอย่างเต็มรูปแบบในฐานะ "สามเณรี" และ "ภิกษุณี ...

อ่านต่อ

สำนักพุทธศาสนาของไทย : มุมมองทางสังคมวัฒนธรรม

นับตั้งแต่ราชอาณาจักรสุโขทัยในคริสต์ศตวรรษที่ 13 เป็นต้นมา พุทธศาสนาถูกนำมาใช้ทั้งเชิงจักรวาลวิทยาและเชิงสถาบัน ในการรับรองสถานะของพระมหากษัตริย์และรัฐไทย ...

อ่านต่อ

พระสงฆ์ไทยกับสิทธิทางกฎหมาย

กฎของมหาเถรสมาคมว่าด้วยเรื่องการทำหนังสือเดินทางของพระสงฆ์ จึงน่าจะขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และมิชอบด้วยกฎหมาย มหาเถรสมาคมน่าจะมีวิธีการที่ดีกว่านี้ ในการป้องกันปัญหาพระสงฆ์ไทยในต่างประเทศที่ประพฤติตนเสื่อมเสีย ...

อ่านต่อ

200 ปี แห่งการปฏิรูปพุทธศาสนาของไทย

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระดำริ ที่จะให้มีการปฏิรูปพุทธศาสนาในสังคมไทยขึ้นเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์สมัยใหม่ของไทย การปฏิรูปของพระองค์ดำเนินไปใน ๒ แนวทางคือ การปฏิรูปคำสอนของพุทธศาสนา และการปฏิรูปองค์การของพุทธศาสนา

อ่านต่อ

วัยรุ่นไทยกับกระแสลัทธิแม่มด

ขณะที่ผู้ใหญ่กำลังแสวงหาลาภ ยศ สรรเสริญ สุข ในโลกแคบๆ ของผู้ใหญ่อยู่นั้น เด็กวัยรุ่นได้แสวงหาเข้าไปในโลกแห่งจินตนาการของเด็ก การมีอำนาจวิเศษในตนเองนับเป็นทางเลือกหนึ่งที่มีเสน่ห์ในช่วงวัยแห่งชีวิตของเด็ก

อ่านต่อ

พระสงฆ์ไทยกับสิทธิในการเลือกตั้ง

ข้ออ้างโดยทั่วไปที่ห้ามมิให้พระสงฆ์ไปใช้สิทธิ์ออกเสียงในการเลือกตั้งก็คือ พระสงฆ์ไม่ควรจะยุ่งเกี่ยวกับการเมือง เนื่องจากพระสงฆ์เป็นผู้ที่บริสุทธิ์ ส่วนการเมืองเป็นเรื่องสกปรก พระสงฆ์จึงไม่ควรเข้าไปแปดเปื้อนกับความสกปรกของการเมือง ...

อ่านต่อ

คนหรือศาสนา : ใครกันแน่ที่เสื่อม

ศาสนาจึงเปรียบเหมือนสิ่งที่มีชีวิต ที่ดำรงอยู่ในจิตใจของมนุษย์ เป็นเรื่องของโลกทรรศน์และการตีความสัจธรรมของแต่ละคน ศาสนาจึงมิใช่พิธีกรรม สัญลักษณ์ หรือลัทธิคำสอน

อ่านต่อ

ประชาศาสนา : ศาสนาของนักการเมือง

ในสังคมและวัฒนธรรมทางการเมืองของไทยนั้น การอ้างสถาบัน "ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์" นั้นกระทำกันอย่างกว้างขวางในหมู่นักการเมืองไทย แต่เป็นการอ้างอย่างกว้างๆ และคลุมเครือ เพื่อเรียกร้องคะแนนเสียงจากประชาชน

อ่านต่อ

เมื่อหลวงตามหาบัวถวายฎีกา

การออกมาเคลื่อนไหวของหลวงตามหาบัวและสานุศิษย์ รวมทั้งนายทองก้อน วงศ์สมุทร จึงนับเป็นการเคลื่อนไหวของภาคประชาชน และพระสงฆ์ภาคประชาชนโดยแท้ เพื่อเรียกร้องอำนาจของสถาบันพระมหากษัตริย์ และภาคประชาชนให้กลับคืนมาอีกครั้งหนึ่ง เพื่อการถ่วงดุลอำนาจรัฐและคณะสงฆ์ภายใต้อำนาจรัฐ

อ่านต่อ

ศักดิ์สิทธิ์กับธรรมดา : ความเท่าเทียมของศาสนา ?

อีมีล เดอร์ไคม์ นักสังคมวิทยาชาวฝรั่งเศส ได้เสนอทฤษฎีว่า "ทุกศาสนามีความเป็นศาสนาโดยเท่าเทียมกัน" โดยให้เหตุผลว่า ศาสนาแต่ละศาสนาล้วนเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบที่สำคัญสองสิ่งคือ

อ่านต่อ

พุทธศาสนากับสิทธิสตรี

คำสอนของศาสนาที่สำคัญของโลกส่วนใหญ่ จะมีพื้นฐานที่ให้สิทธิความเสมอภาคระหว่างเพศชายกับเพศหญิง ในพุทธศาสนาผู้ชายกับผู้หญิงมีธรรมชาติแห่งความเป็นพุทธะเหมือนกัน และผู้หญิงก็สามารถบรรลุธรรมที่สูงสุดได้เช่นเดียวกับผู้ชาย

อ่านต่อ

มัมมี่ยาอายุวัฒนะและจิตอมตะ

ถ้าชีวิตหลังความตายคือ “การกลับชาติมาเกิดใหม่” เป็น “ข้อเท็จจริง” (fact) มนุษย์ไม่ว่าชาติใดภาษาใดหรือศาสนาใด ก็ต้องกลับชาติมาเกิดใหม่เสมอไม่มียกเว้น

อ่านต่อ

ศาสนาคือฝิ่นของประชาชน?  

ในขณะที่มาร์กซ์เลือกใช้วิธีปฏิวัติทางชนชั้นที่รุนแรงนั้น พระพุทธเจ้ากลับทรงใช้หลักเมตตาธรรมและสันติวิธี ในการนำมนุษย์สู่ความหลุดพ้นทั้งปวง

อ่านต่อ

ศาสนาแห่ง “ปัญญา” และ “สติ” 

มนุษย์จะเข้าถึงความจริงข้อนี้ได้ก็โดยอาศัย "การเจริญสติ" (สติปัฏฐาน ๔) ให้รู้เท่าทันธรรมชาติความเป็นไปทั้งภายในและภายนอก ในแง่นี้พุทธศาสนาจึงอาจจัดได้ว่าเป็นศาสนาแห่ง "ปัญญา" และ "สติ" โดยแท้

อ่านต่อ

100 ปี แห่งชาตกาลของพุทธทาสภิกขุ 

พุทธทาสภิกขุได้รับการยกย่องจากองค์การยูเนสโก ๑ ว่าเป็นบุคคลสำคัญของโลก รัฐบาลไทยและประชาชนทุกหมู่เหล่าต่างก็เตรียมการเพื่อเฉลิมฉลอง เนื่องในวาระครบรอบวันเกิด 100 ปีของท่านในปีนี้

อ่านต่อ

บัตรประจำตัวของพระสงฆ์ 

การออกบัตร "สมาร์ทการ์ด" แก่พระสงฆ์ตามข้อเสนอของพระวินยาธิการนั้น จึงน่าจะเป็นการออกทดแทนใบสุทธิ อันจะทำให้ใบสุทธิเป็นบัตรที่ทันสมัย

อ่านต่อ

๙๖ ปี หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ  

"เราประทับใจมากที่ท่านสอนให้เราไม่ยึดติด" "ท่านสอนง่ายตรงไปตรงมา ไม่ใช้คำบาลีมากมาย" คือเหตุผลที่บรรดาพุทธศาสนิกชน ต่างเดินทางมาที่วัดเพื่อมาฟังปาฐกถาธรรมจากหลวงพ่อ ถ้อยคำสอนที่ว่า "งานคือชีวิต ชีวิตคืองาน บันดาลสุข ทำงานให้สนุก เป็นสุขเมื่อทำงาน" เป็นคำสอนที่ฟังดูง่าย แต่ทว่าลึกซึ้งกินใจแก่ชาวพุทธมาเป็นระยะเวลาช้านาน

อ่านต่อ

บทบัญญัติว่าด้วยศาสนาในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ 

"ถ้ารัฐธรรมนูญฉบับใหม่ มีบทบัญญัติที่แยกการเมืองกับศาสนาออกจากกันอย่างชัดเจนเช่นนี้แล้ว ความสัมพันธ์ระหว่างประชาชน ศาสนา กับพระมหากษัตริย์ ก็จะยังคงอยู่ตามราชประเพณีโบราณ อันสอดคล้องกับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และสังคมไทย ขณะเดียวกันรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ก็จะมีลักษณะที่ก้าวหน้า สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญของนานาอารยประเทศอีกด้วย

อ่านต่อ

ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ผู้ฝ่ามรสุมการเมืองด้วยหลักธรรม 

ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ได้รับรางวัลสตรีดีเด่นในพระพุทธศาสนาแห่งโลก ประจำปี 2548 เนื่องในโอกาสวันสตรีสากลแห่งสหประชาชาติ ณ ตึกสหประชาชาติ กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2548 โดยท่านยึดคติธรรมประจำใจอยู่เสมอว่า "ธรรมย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม

อ่านต่อ

พระสงฆ์ทุศีล : ภิกษุสันดานกา 

พระภิกษุสงฆ์ก็เช่นเดียวกัน ถ้าหากตนเองมิได้ประพฤติตนดังเช่นคำวิพากษ์วิจารณ์ของศิลปินที่แสดงออกในภาพเขียนที่ชื่อ "ภิกษุสันดานกา" แล้ว ก็ไม่ควรที่จะต้องเดือดเนื้อร้อนใจแต่ประการใด เพราะชาวพุทธยังคงให้ความเคารพนับถือด้วยศรัทธาที่มั่นคงเหมือนเดิม มีแต่เพียงภิกษุซึ่งประพฤติตนมิชอบอันเข้าข่าย "ภิกษุสันดานกา" เท่านั้น ที่จะพึงเดือดเนื้อร้อนใจเพราะคำวิพากษ์วิจารณ์นั้น

อ่านต่อ

เมื่อ “คลังหลวง” จะถูกถลุง 

การออกมาคัดค้าน “พระราชบัญญัติเงินตราฉบับใหม่” ของหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน และประชาชนในขณะนี้ จึงเป็นสิ่งที่ชอบด้วยเหตุผล ที่รัฐบาลและสภานิติบัญญัติแห่งชาติพึงรับฟังและรับพิจารณา และนับเป็นการออกมา “กู้ชาติ” อีกครั้งหนึ่งของพระป่าแห่งวัดป่าบ้านตาด ในดินแดนอีสานของไทย

อ่านต่อ

พระสงฆ์ไทยกับสิทธิในการเลือกตั้ง  

ในเรื่องที่เกี่ยวกับบัตรประจำตัวนั้น ข้าราชการมีสิทธิที่จะถือทั้งบัตรข้าราชการและบัตรประชาชนในเวลาเดียวกันฉันใด พระสงฆ์ก็ควรจะมีสิทธิถือทั้งใบสุทธิและบัตรประชาชนในเวลาเดียวกัน (ตามสิทธิที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ) ฉันนั้น

อ่านต่อ

ธรรมิกสังคมนิยม” กับการเมืองไทย 

ทฤษฎี "ธรรมิกสังคมนิยม" ของพุทธทาสภิกขุ ซึ่งเป็นปรัชญาการเมืองของนักคิดไทย ในบริบทของสังคมไทย บางทีอาจให้แนวทางในการแสวงหาคำตอบต่อเสียงเรียกร้องนี้ ซึ่งออกมาจากความต้องการที่แท้จริงของประชาชน

อ่านต่อ

พระสงฆ์ไทยกับการชุมนุมทางการเมือง  

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 5 ระบุว่า "ประชาชนชาวไทยไม่ว่าเหล่ากำเนิด เพศ หรือศาสนาใด ย่อมอยู่ในความคุ้มครองแห่งรัฐธรรมนูญนี้เสมอกัน"

อ่านต่อ

ไสยศาสตร์กับชนชั้นในสังคมไทย 

ไสยศาสตร์แห่งอภิปรัชญาอาจจัดเป็นไสยศาสตร์ระดับสูง ขณะที่ไสยศาสตร์แห่งความศักดิ์สิทธิ์และการทำนายทายทักอาจนับเป็นไสยศาสตร์ ระดับกลาง และไสยศาสตร์แห่งการทรงเจ้าเข้าผีและไสยดำอาจถือได้ว่าเป็นไสยศาสตร์ระดับต่ำ

อ่านต่อ

พัฒนาการทางความคิดของพุทธศาสนามหายาน 

เราทุกคนสามารถที่จะเป็น "ผู้สมัครแข่งขันชิงชัย" (candidate) ได้ โดยแนะนำว่าเราทุกคนควรจะบำเพ็ญ "พระโพธิสัตวธรรม" (ธรรมะของพระโพธิสัตว์) เพื่อปรารถนาต่อพุทธภูมิในวันข้างหน้า

อ่านต่อ

ทฤษฎี “ธรรมชาติแห่งความเป็นพุทธะ” 

ภายหลังจากที่พุทธศาสนามหายานก่อกำเนิดขึ้นในอินเดียแล้ว ก็ได้เจริญรุ่งเรืองอยู่นานหลายศตวรรษ ต่อมาก็ได้เผยแผ่ลงไปยังเอเชียอาคเนย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาณาจักรขอมและอาณาจักรศรีวิชัย ส่วนอีกสายหนึ่งซึ่งเป็นสายหลักได้ขึ้นไปทางทิศเหนือและรุ่งเรืองอยู่ในดินแดนเอเชียกลาง

อ่านต่อ

ภิกษุณี : มุมมองทางประวัติศาสตร์ 

ภิกษุณีสงฆ์ได้รับการฟื้นกลับคืนมาอีกครั้งหนึ่งในประเทศศรีลังกาจนถึงปัจจุบัน และได้ขยายตัวมายังดินแดนเอเชียอาคเนย์รวมทั้งประเทศไทย โดยภิกษุณีสงฆ์ฝ่ายเถรวาทได้รับการยอมรับมากขึ้นโดยลำดับทั้งในสังคมไทยและสังคมนานาอารยประเทศ

อ่านต่อ

กรณีพิพาทเขาพระวิหารมุมมองทางศาสนา 

ถ้ารัฐบาลไทยและรัฐบาลกัมพูชามีข้อตกลงร่วมกันว่าปราสาทพระวิหารเป็นพื้นที่ร่วมกันของทั้งสองประเทศ เปิดพรมแดนให้คนทั้งสองฝ่ายสามารถเข้าไปสักการะและทำพิธีทางศาสนาร่วมกันได้ หรือจดทะเบียนเป็นมรดกโลกร่วมกันทั้งสองประเทศ หรือยกพื้นที่ปราสาทพระวิหารให้กับองค์การพุทธศาสนาที่เป็นตัวแทนของชาวพุทธทั่วโลก เข้าไปดูแลและบริหารจัดการ โดยเป็น "เขตสันติภาพ"ไม่มีกองกำลังทหารของทั้งสองฝ่ายอยู่ในอาณาบริเวณนั้น ก็น่าจะเป็นทางออกที่ดี

อ่านต่อ

THAI CADET

 

© 2547-2566. จัดทำเป็นวิทยาทาน โดย THAI CADET

Made with Pingendo Free  Pingendo logo